วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ประวัติเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประวัติความเป็นมา

PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย Visarut kitiwatcharajaroen   
วันพุธที่ 28 มีนาคม 2012 เวลา 17:01 น.
   ปัจจุบันการทำธุรกรรมมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนวิธีการในการติดต่อสื่อสารที่อาศัยการพัฒนาเทคโนโลยีทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ แต่มีวิธีการที่แตกต่างจากวิธีการทำซึ่งกฎหมายรองรับอยู่ ส่งผลให้ต้องมีการรองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอกับการทำเป็นหนังสือ หรือหลักฐานเป็นหนังสือ การรับรองวิธีการส่ง และรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์      และการรับฟังพยานหลักฐานที่เป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นเพื่อให้มีการทำธุรกรรมในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีผลในทางกฎหมายเช่นเดียวกับการทำธุรกรรมโดยวิธีการทั่วไปที่เคยปฏิบัติอยู่เดิม และมีมาตรฐานน่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ จึงได้มีการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๔๕ อนึ่งตามมาตรา ๓๖ ของพระราชบัญญัติฉบับนี้กำหนดให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย รัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานกรรมการ และมีผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช) เป็นกรรมการและเลขานุการ ซึ่งในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ศูนย์เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์แห่งชาติ จัดตั้งสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อทำหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ตามที่กฎหมายกำหนดต่อมาได้มีการสถาปนากระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขึ้นจึงได้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์โดยเปลี่ยนประธานกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์จาก “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม” เป็น “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” ตามมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับการโอนอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕

 
PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย Visarut kitiwatcharajaroen   
วันพุธที่ 28 มีนาคม 2012 เวลา 17:01 น.
   ปัจจุบันการทำธุรกรรมมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนวิธีการในการติดต่อสื่อสารที่อาศัยการพัฒนาเทคโนโลยีทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ แต่มีวิธีการที่แตกต่างจากวิธีการทำซึ่งกฎหมายรองรับอยู่ ส่งผลให้ต้องมีการรองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอกับการทำเป็นหนังสือ หรือหลักฐานเป็นหนังสือ การรับรองวิธีการส่ง และรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์      และการรับฟังพยานหลักฐานที่เป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นเพื่อให้มีการทำธุรกรรมในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีผลในทางกฎหมายเช่นเดียวกับการทำธุรกรรมโดยวิธีการทั่วไปที่เคยปฏิบัติอยู่เดิม และมีมาตรฐานน่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ จึงได้มีการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๔๕ อนึ่งตามมาตรา ๓๖ ของพระราชบัญญัติฉบับนี้กำหนดให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย รัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานกรรมการ และมีผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช) เป็นกรรมการและเลขานุการ ซึ่งในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ศูนย์เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์แห่งชาติ จัดตั้งสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อทำหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ตามที่กฎหมายกำหนดต่อมาได้มีการสถาปนากระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขึ้นจึงได้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์โดยเปลี่ยนประธานกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์จาก “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม” เป็น “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” ตามมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับการโอนอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕
ปัจจุบันการทำธุรกรรมมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนวิธีการในการติดต่อสื่อสารที่อาศัยการพัฒนาเทคโนโลยีทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ แต่มีวิธีการที่แตกต่างจากวิธีการทำซึ่งกฎหมายรองรับอยู่ ส่งผลให้ต้องมีการรองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอกับการทำเป็นหนังสือ หรือหลักฐานเป็นหนังสือ การรับรองวิธีการส่ง และรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์      และการรับฟังพยานหลักฐานที่เป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

 ดังนั้นเพื่อให้มีการทำธุรกรรมในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีผลในทางกฎหมายเช่นเดียวกับการทำธุรกรรมโดยวิธีการทั่วไปที่เคยปฏิบัติอยู่เดิม และมีมาตรฐานน่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ จึงได้มีการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๔๕ อนึ่งตามมาตรา ๓๖ ของพระราชบัญญัติฉบับนี้กำหนดให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย รัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานกรรมการ และมีผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช) เป็นกรรมการและเลขานุการ ซึ่งในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ศูนย์เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์แห่งชาติ จัดตั้งสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อทำหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ตามที่กฎหมายกำหนดต่อมาได้มีการสถาปนากระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขึ้นจึงได้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์โดยเปลี่ยนประธานกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์จาก “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม” เป็น “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” ตามมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับการโอนอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕

แหล่งที่มา สำนักงานคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น