วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ยกตัวอย่างเทคโนโลนีสารสนเทศที่ใช้สำหรับครู



คำอธิบายรายวิชา
.....ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ  ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  เช่น  ไมโครซอฟท์คอมพิวเตอร์  และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์  ระบบสื่อสารข้อมูล  ระบบเน็ตเวิร์ค  ระบบซอฟท์แวร์  การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ  เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ  ทักษะการเข้าถึงสารสนเทศ  ฐานข้อมูลสารสนเทศ  ห้องสมุดอิเล็กทรอนิดส์และการอ้างอิง ฝึกปฏิบัติการ  สามารถใช้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมได้

ยกตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน — Presentation Transcript

  • 1. เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน วิชาคอมพิวเตอร์ มัธยมศึกษาปีที่ 1 นางฐิติพร ไหวดี ครู คศ .2 โรงเรียนทองสวัสดิ์วิทยาคาร
  • 2. เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน การใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือ โทรศัพท์มือถือ เพื่อการติดต่อสื่อสาร บัตรประจำตัวประชาชนแบบใหม่ที่มีแถบแม่เหล็ก ใช้บริการฝาก - ถอนเงินจากเครื่องฝาก - ถอนเงินอัตโนมัติ หรือเอทีเอ็ม ( ATM) การชำระค่าน้ำค่าไฟต่างๆ ผ่านธนาคาร การเล่นอินเทอร์เน็ต

ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

            Information Technology หรือ IT คือ การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในระบบสารสนเทศ ตั้งแต่กระบวนการจัดเก็บ ประมวลผล และการเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อช่วยให้ได้สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจประกอบด้วย
           
1. เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้สำนักงาน อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมต่างๆ รวมทั้งซอฟท์แวร์ทั้งแบบสำเร็จรูปและแบบพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในงานเฉพาะด้าน ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้จัดเป็นเครื่องมือทันสมัย และใช้เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology)
           
2. กระบวนการในการนำอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน เพื่อรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป เช่น การจัดเก็บข้อมูลในลักษณะของฐานข้อมูล เป็นต้น

ประวัติเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประวัติความเป็นมา

PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย Visarut kitiwatcharajaroen   
วันพุธที่ 28 มีนาคม 2012 เวลา 17:01 น.
   ปัจจุบันการทำธุรกรรมมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนวิธีการในการติดต่อสื่อสารที่อาศัยการพัฒนาเทคโนโลยีทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ แต่มีวิธีการที่แตกต่างจากวิธีการทำซึ่งกฎหมายรองรับอยู่ ส่งผลให้ต้องมีการรองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอกับการทำเป็นหนังสือ หรือหลักฐานเป็นหนังสือ การรับรองวิธีการส่ง และรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์      และการรับฟังพยานหลักฐานที่เป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นเพื่อให้มีการทำธุรกรรมในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีผลในทางกฎหมายเช่นเดียวกับการทำธุรกรรมโดยวิธีการทั่วไปที่เคยปฏิบัติอยู่เดิม และมีมาตรฐานน่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ จึงได้มีการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๔๕ อนึ่งตามมาตรา ๓๖ ของพระราชบัญญัติฉบับนี้กำหนดให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย รัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานกรรมการ และมีผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช) เป็นกรรมการและเลขานุการ ซึ่งในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ศูนย์เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์แห่งชาติ จัดตั้งสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อทำหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ตามที่กฎหมายกำหนดต่อมาได้มีการสถาปนากระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขึ้นจึงได้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์โดยเปลี่ยนประธานกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์จาก “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม” เป็น “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” ตามมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับการโอนอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕

 
PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย Visarut kitiwatcharajaroen   
วันพุธที่ 28 มีนาคม 2012 เวลา 17:01 น.
   ปัจจุบันการทำธุรกรรมมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนวิธีการในการติดต่อสื่อสารที่อาศัยการพัฒนาเทคโนโลยีทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ แต่มีวิธีการที่แตกต่างจากวิธีการทำซึ่งกฎหมายรองรับอยู่ ส่งผลให้ต้องมีการรองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอกับการทำเป็นหนังสือ หรือหลักฐานเป็นหนังสือ การรับรองวิธีการส่ง และรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์      และการรับฟังพยานหลักฐานที่เป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นเพื่อให้มีการทำธุรกรรมในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีผลในทางกฎหมายเช่นเดียวกับการทำธุรกรรมโดยวิธีการทั่วไปที่เคยปฏิบัติอยู่เดิม และมีมาตรฐานน่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ จึงได้มีการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๔๕ อนึ่งตามมาตรา ๓๖ ของพระราชบัญญัติฉบับนี้กำหนดให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย รัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานกรรมการ และมีผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช) เป็นกรรมการและเลขานุการ ซึ่งในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ศูนย์เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์แห่งชาติ จัดตั้งสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อทำหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ตามที่กฎหมายกำหนดต่อมาได้มีการสถาปนากระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขึ้นจึงได้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์โดยเปลี่ยนประธานกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์จาก “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม” เป็น “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” ตามมาตรา ๑๐๒ แห่งพระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับการโอนอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕
ปัจจุบันการทำธุรกรรมมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนวิธีการในการติดต่อสื่อสารที่อาศัยการพัฒนาเทคโนโลยีทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ แต่มีวิธีการที่แตกต่างจากวิธีการทำซึ่งกฎหมายรองรับอยู่ ส่งผลให้ต้องมีการรองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอกับการทำเป็นหนังสือ หรือหลักฐานเป็นหนังสือ การรับรองวิธีการส่ง และรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์      และการรับฟังพยานหลักฐานที่เป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์